“WHO ประกาศให้ Mpox กลายเป็นภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศอีกครั้ง” (14 สิงหาคม 2567)
ฝีดาษลิง คือ โรคติดต่อที่เกิดจากไวรัส monkeypox (Mpox) ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับไวรัสโรคฝีดาษหรือโรคไข้ทรพิษ (Orthopoxvirus) Mpox จำแนกได้เป็น 2 สายพันธุ์ คือ clade I และ clade II ปัจจุบันประเทศไทยพบผู้ป่วยติดเชื้อ Mpox สายพันธุ์ clade Ib แล้ว 1 ราย (กรมควบคุมโรค, 22 สิงหาคม 2567)
ฝีดาษลิง มักแสดงอาการภายใน 1–21 วันหลังได้รับเชื้อ โดยอาการแสดงทั่วไป...
ในปี พ.ศ. 2566 นี้ สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย ได้เผยแพร่ตารางแนะนำการให้วัคซีนในเด็กไทย แบ่งเป็นวัคซีนจำเป็นที่ต้องให้แก่เด็กทุกคน และวัคซีนทางเลือกที่อาจให้เสริมหรือทดแทน มีคำแนะนำให้วัคซีนรวม คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-โปลิโอชนิดฉีด-ฮิบ เป็นหนึ่งในวัคซีนทางเลือก โดยฉีดได้ที่อายุ 2, 4 และ 6 เดือน1
วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์คืออะไร?
ปัจจุบันวัคซีนไอกรนในประเทศไทยมีทั้งชนิดไร้เซลล์ (acellular) และชนิดทั้งเซลล์ (whole cell) โดยวัคซีนไอกรนชนิดทั้งเซลล์มักทำให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีด บางครั้งอาจมีอาการบวม แดง ไข้ และหนาวสั่นร่วมด้วย จึงมีการพัฒนาวัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ทำจากบางส่วนของเชื้อแบคทีเรียเพื่อลดผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้และมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคไม่ต่างกัน2 สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทยแนะนำว่า วัคซีนรวม คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน สามารถใช้ชนิดไร้เซลล์ (acellular) แทนชนิดทั้งเซลล์ (whole cell) ได้ทุกครั้ง1
“วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคที่ดี และช่วยลดผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีนชนิดทั้งเซลล์ แนะนำให้เริ่มฉีดเข็มแรกได้ตั้งแต่อายุ...
ภาพกิจกรรม วันที่ 28 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ณ อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
เข้มข้นด้วยสาระสุขภาพจากผู้เชี่ยวชาญ เข้าใจง่าย นำไปใช้ได้จริง ถ่ายทอดสดผ่านทาง Facebook HealthToday Thailand วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 เป็นต้นไป
อาการมือสั่นเป็นอาการที่พบได้บ่อย และมักเป็นอาการแสดงหนึ่งของโรคทางระบบประสาทในผู้สูงอายุ เช่น โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s Disease) และโรคสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ (Essential Tremor) โดยทั้งสองโรคนี้ผู้ป่วยจะมีลักษณะของอาการมือสั่นที่แตกต่างกัน และมีวิธีการรักษาที่ไม่เหมือนกัน
สมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย ร่วมกับ ชมรมแพทย์ผิวหนังเด็กแห่งประเทศไทย จัดงานเสวนาออนไลน์ “World Atopic Dermatitis Day 2020 โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง โรคใกล้ตัวที่ถูกมองข้ามของคนไทย” เนื่องในวันโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังโลก
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จัดโครงการคณะพยาบาลศาสตร์ อาสาพัฒนาสังคมในเขตหลักสี่ 2 โครงการ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิธีมอบเงินสนับสนุนการจัดสร้างหน่วยอำนวยการและปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
คุณพิชยากร กาศสกุล ผู้ช่วย ผอ. รพ.วิภาวดี พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ของ รพ.วิภาวดี โดยการนำจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.พหลโยธิน ไปร่วมมอบ “ถุงปันน้ำใจ บุคลากรวิภาวดี ผ่าวิกฤต COVID-19”
หนึ่งในวิธีการสร้างภูมิคุ้มกันที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่ประสบความสำเร็จและคุ้มค่าที่สุดในโลกคือการฉีดวัคซีน