หนึ่งในวิธีการสร้างภูมิคุ้มกันที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่ประสบความสำเร็จและคุ้มค่าที่สุดในโลกคือการฉีดวัคซีน
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จัดโครงการคณะพยาบาลศาสตร์ อาสาพัฒนาสังคมในเขตหลักสี่ 2 โครงการ
สมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย ร่วมกับ ชมรมแพทย์ผิวหนังเด็กแห่งประเทศไทย จัดงานเสวนาออนไลน์ “World Atopic Dermatitis Day 2020 โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง โรคใกล้ตัวที่ถูกมองข้ามของคนไทย” เนื่องในวันโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังโลก
กลุ่มแพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะชี้ ชายไทยเสี่ยงโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก จึงเร่งให้ความรู้ประชาชน เพื่อให้ตื่นตัว รู้เท่าทันโรค และตรวจพบตั้งแต่ระยะเริ่มต้น สามารถรักษาให้หายขาดได้ เตรียมจัดงาน “รวมพลังสู้..รู้ทันมะเร็งต่อมลูกหมาก” ในวันอาทิตย์ ที่ 23 ก.พ. 2563
เข้มข้นด้วยสาระสุขภาพจากผู้เชี่ยวชาญ เข้าใจง่าย นำไปใช้ได้จริง ถ่ายทอดสดผ่านทาง Facebook HealthToday Thailand วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:30 เป็นต้นไป
ในปี พ.ศ. 2566 นี้ สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย ได้เผยแพร่ตารางแนะนำการให้วัคซีนในเด็กไทย แบ่งเป็นวัคซีนจำเป็นที่ต้องให้แก่เด็กทุกคน และวัคซีนทางเลือกที่อาจให้เสริมหรือทดแทน มีคำแนะนำให้วัคซีนรวม คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-โปลิโอชนิดฉีด-ฮิบ เป็นหนึ่งในวัคซีนทางเลือก โดยฉีดได้ที่อายุ 2, 4 และ 6 เดือน1
วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์คืออะไร?
ปัจจุบันวัคซีนไอกรนในประเทศไทยมีทั้งชนิดไร้เซลล์ (acellular) และชนิดทั้งเซลล์ (whole cell) โดยวัคซีนไอกรนชนิดทั้งเซลล์มักทำให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีด บางครั้งอาจมีอาการบวม แดง ไข้ และหนาวสั่นร่วมด้วย จึงมีการพัฒนาวัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ทำจากบางส่วนของเชื้อแบคทีเรียเพื่อลดผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้และมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคไม่ต่างกัน2 สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทยแนะนำว่า วัคซีนรวม คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน สามารถใช้ชนิดไร้เซลล์ (acellular) แทนชนิดทั้งเซลล์ (whole cell) ได้ทุกครั้ง1
“วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคที่ดี และช่วยลดผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีนชนิดทั้งเซลล์ แนะนำให้เริ่มฉีดเข็มแรกได้ตั้งแต่อายุ...
ศูนย์การแพทย์มะเร็งวิทยาจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จัดกิจกรรมรณรงค์เนื่องในวันมะเร็งโลก ภายใต้แนวคิด I Am and I Will...ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร คุณสามารถเป็นส่วนหนึ่งเพื่อช่วยลดอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งได้
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิธีมอบเงินสนับสนุนการจัดสร้างหน่วยอำนวยการและปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
เมื่อเร็ว ๆ นี้ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ จัดงาน “สื่อสาส์นกัญชา: สมาคมแพทย์" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนตระหนักและเข้าใจเรื่องกัญชามากยิ่งขึ้น
อาการมือสั่นเป็นอาการที่พบได้บ่อย และมักเป็นอาการแสดงหนึ่งของโรคทางระบบประสาทในผู้สูงอายุ เช่น โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s Disease) และโรคสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ (Essential Tremor) โดยทั้งสองโรคนี้ผู้ป่วยจะมีลักษณะของอาการมือสั่นที่แตกต่างกัน และมีวิธีการรักษาที่ไม่เหมือนกัน