สับปะรด ผลไม้รักษาโรค

สับปะรดนั้นหากินได้ง่ายในประเทศไทย เพราะเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะอากาศร้อน แห้งแล้ง มีดินปนทราย ดังนั้นการกินสับปะรดเป็นผลไม้ประจำบ้านช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นมะเร็ง เพราะสาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็งนั้นเป็นปรากฏการณ์ต่อเนื่องมาจากการเกิดอาการอักเสบ (Inflammation) ซ้ำซากของอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง สับปะรดนั้นควรกินหลังอาหารเพราะโบรมีเลนซึ่งย่อยเนื้อสัตว์ได้ดีนั้นช่วยลดอาการท้องอืดเฟ้อ

อาหารบำบัด:โรคหวัด

ผู้เขียนได้พยายามรวบรวมบทความจากนักกำหนดอาหารที่เชี่ยวชาญด้านอาหารต้านหวัดบวกกับประสบการณ์ที่เคยแนะนำเพื่อนสมาชิกคุณแม่ด้วยกันในสังคมออนไลน์มายำสรุปให้ผู้อ่านได้นำไปปรับใช้กันค่ะ หลักการในการกินเพื่อเพิ่มภูมิต้านทาน ต้านหวัด คือ 1. เลือกอาหารที่มีประโยชน์ สารอาหารสูง 2. กินอาหารให้ได้พลังงานอย่างพอเพียง 3. กินอาหารธรรมชาติไม่ง้ออาหารเสริม

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ที่ใช้ในยามีเพียงชนิดเดียว ไม่ได้ใช้ในบัญชียาหลักแห่งชาติแต่ใช้ในยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ โดยใช้เป็นยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย ตัวยาตรงได้แก่แก่นขี้เหล็ก มีดอกขี้เหล็กเป็นตัวยาช่วย นอกจากนี้ดอกหรือแก่นขี้เหล็กยังนำมาใช้เป็นตัวยาช่วยในยาถ่ายหรือยาระบายอีกด้วย

มังคุด ผลไม้รักษาโรค

มังคุดเป็นผลไม้กึ่งยาซึ่งได้รับการวิจัยทางชีวภาพแล้วมากมาย นอกจากอร่อยมากแล้วเนื้อมังคุดมีคุณค่าทางโภชนาการดีคือ มีทั้งคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ใยอาหาร เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือ แทนนินซึ่งมีฤทธิ์ฝาดสมาน ทำให้แผลหายเร็ว ส่วนสารธรรมชาติอีกชนิดคือ แมงโกสตินช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดหนองได้

โรคดึงผมตัวเอง

โรคดึงผมตัวเอง หรือในภาษาอังกฤษคือ trichotillomania หรือ hair-pulling disorder เป็นภาวะที่ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมถอนผม (หรือขน) ของตัวเองซ้ำ ๆ จนทำให้ผมแหว่งหรือล้านเป็นหย่อม ๆ โรคดึงผมปัจจุบันจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับโรคย้ำคิดย้ำทำ (obsessive compulsive disorder)

ครอบครัว 4.0

ในช่วงปีที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากในประเทศไทย โดยเฉพาะความพยายามของรัฐบาลที่จะขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปประเทศให้สำเร็จ เรื่องหนึ่งที่มีการพูดถึงกันมากคือเรื่องประเทศไทย 4.0 สำหรับครอบครัว อาจรู้สึกว่าเป็นเรื่องไกลตัว แต่อันที่จริง เราทุกคนคือส่วนที่จะขับเคลื่อนความฝันนี้ให้เป็นจริงด้วยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กยุค 4.0